แนวคิดและหลักการ
การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21


  • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวคิดที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ในปัจจุบัน ที่เป็นผลกระทบมาจากความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมหาศาล
  • ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต้องกลับมาทบทวนพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนในฐานะเป็นพลเมืองของชาติ ให้มีความพร้อมสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรม
  • สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
  • โดยมีการกำหนดสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีความเป็นไทย ขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ในการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
  • โดยมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ในการสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพ ทักษะ และความรู้พื้นฐานในการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 นั้น
  • จะต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ ผ่านโครงงานหรือโครงการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น การเรียนรู้ในรูปของการค้นคว้าด้วยตนเอง
  • ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมถึงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน
  • ผู้สอน ได้เล็งเห็นความสำคัญของนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียน รองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียนและยกระดับศักยภาพ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล จึงได้จัดทำ Blog Sites หรับใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน
  • เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน โดยดำเนินการจัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21ตามหลักการสำคัญต่อไปนี้
    • 1. มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 2. มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ทักษะชีวิต และทักษะด้านการจัดการข้อมูล สารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Information Technology)
    • 3. มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล (Data) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สามารถวิเคราะห์ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และสามารถแปลงข้อมูลเป็นความรู้ (Knowledge) เพื่อนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 4. มุ่งสร้างเสริมนิสัยใฝ่เรียนรู้ และฝึกฝนทักษะวิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน (Learning skill) ให้สามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลความรู้ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล สามารถนำมาใช้ในการเรียน การทำงาน และการ ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ

วันอังคารที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2558

ใบงานที่ 5.2 พัฒนาการในสมัยโบราณ

ใบงานที่ 5.2
พัฒนาการในสมัยโบราณ
คำชี้แจง   ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
    1. สภาพสังคมในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะอย่างไร
สภาพสังคมในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นสังคมเกษตรกรรม รู้จักนำเอาโลหะสำริดมาใช้        
ในการสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
    2. ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความสำคัญอย่างไร
  • ตั้งอยู่ระหว่างเส้นทางการค้าอินเดียกับจีน ทำให้ได้รับอิทธิพลทางอารยธรรมจากสองอารยธรรมใหญ่ คืออารยธรรมจีนทางด้านตะวันออก ซึ่งมีอิทธิพลต่อเวียดนามมาก และวัฒนธรรมอินเดียทางด้านตะวันตก ซึ่งมีอิทธิพลต่อพม่า ไทย ลาว และกัมพูชา สำหรับอินโดนีเซียและมาเลเซียได้รับอิทธิพลในระยะแรก ส่วนฟิลิปปินส์ อารยธรรมจีนและ อินเดียยังแพร่เข้าไปไม่ถึง

     3. สิ่งที่แสดงถึงอิทธิพลของอินเดียในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยโบราณ คืออะไร
  • การนับถือกษัตริย์เป็นเทวราชาหรือธรรมราชา 
  • การสร้างศาสนสถาน การใช้พุทธศักราช และจุลศักราช 
  • กฎหมายตามแนวพระธรรมศาสตร์
  • ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต 
  • วรรณกรรมเรื่อง รามเกียรติ์ และมหาภารตะ


     4. อาณาจักรโบราณอาณาจักรใดบ้างที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดีย
  • อาณาจักรฟูนัน อาณาจักรจามปา อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรขอม อาณาจักรศรีเกษตร-พุกาม (พม่า) อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรมัชปาหิต และอาณาจักรมะตะรัม

5. อาณาจักรโบราณในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพัฒนาการด้านต่างๆ อย่างไรบ้าง
  • ด้านการเมืองการปกครอง มีการให้ความสำคัญกับกษัตริย์
  • ด้านเศรษฐกิจ เป็นเกษตรกรรมแบบยังชีพ หรือพึ่งตนเอง ทำเพื่อบริโภค เหลือกินจึงขายหรือจ่ายเป็นส่วย ให้ทางราชการ การค้าทางทะเลอาศัยลมมรสุม ค้าขายของป่าและเครื่องเทศกับจีน อินเดีย และญี่ปุ่น
  • ด้านสังคมและวัฒนธรรม มีการแบ่งชนชั้น ส่วนพระสงฆ์ได้รับการเคารพยกย่องจากสังคม

62 ความคิดเห็น:

  1. 😄😍😍😍😄😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😄😄😄😍😍😍😄😄😍😄😄😍😍😃

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. เยื่อมากครับไม่ต้องหาในหนังสือ

      ลบ
    2. สุดจัดปลัดบอกขนาดประยุทรลาออกยังบอกว่าสุดจัด

      ลบ
    3. ได้ความรู้มากครับ

      ลบ
    4. สุดเลยตรงกับการบ้านเลย

      ลบ
    5. สุดยอดไปเลยไม่ต้องไปหาในหนังสือเลย

      ลบ
    6. 😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😏😏😏😏😏😏😏😏😏😏😏😏😏🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏

      ลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ9 ธันวาคม 2561 เวลา 17:34

    สุดยอดไปเลย

    ตอบลบ
  3. เหมือนชีทเราเป๊ะโจทย์ดหมือนกันเลย

    ตอบลบ
  4. ช่ครับมีคำตอบตรงเลย

    ตอบลบ
  5. คำถามตรงเป๊ะเลยครับไม่ค้นหาหลายครั้งดีมากเลยครับ

    ตอบลบ
  6. 😊😊😊😃😃😃😉😉😉😮😮😮😱😱😱😍😍😍😜😝😋😘

    ตอบลบ
  7. ��������������������������������������������������������������������������

    ตอบลบ
  8. ดีมากกกกกกกกกก��������������������

    ตอบลบ
  9. 👍👍👍👍👍😍😍😍😀😍😍😀😍😀😍😀😀😀😀😍😍😀😀😍😍😍👍👍👍👍👍

    ตอบลบ
  10. ขอบคุณคนทำมากคับ

    ตอบลบ
  11. ดีครับไม่ต้องไปหาไนหนังสือที่นี้มีจริงขอบคุนมากๆคับที่ไห้คำตอบกะผมคับขอขอบคุนจริงๆจากไจเลยคับ😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😍😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😆😗

    ตอบลบ
  12. ยุร.ร.สบเปิงวิทยาขอคอบคุนคับ

    ตอบลบ
  13. อาจาร์ย ให้การบ้านมา 5.1 กับ 5.2 ผมเขียนแค่หัวข้อก็เจอทั้งหมดเลยครับและตรงกับโจทร์ด้วย ดีมากๆครับ
    ทำงานประวัติศาสตร์ ผมดูในเว็บนี้ตลอดนะครับบบบ

    ตอบลบ
  14. 😙😙😙😙😙😙😙😙😙😁😁😁😁😁😁😀😉😀😀

    ตอบลบ
  15. ผมเซฟ ม.1/12 รร.จัดรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

    ตอบลบ
  16. ตรงกับที่ครูสอนเลยครับ

    ตอบลบ
  17. ตรงกับขีท อ.มากค่ะ

    ตอบลบ
  18. ไอพวกไม่มีสมองหาในหนังสือ

    ตอบลบ
  19. สุดยอด เลิศอันดับหนึ่ง เด็จขาด ยอด ยอดเยี่ยม ที่สุดดี ดีมาก ขอบคุณครับ

    ตอบลบ
  20. ใช่เลย5252525😘😍😍😍🤙🏻🤙🏻😳😳😳 //หาคนเร่นบอทค้ะ😏😏😏

    ตอบลบ